
TOPnatural
วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ธรรมชาติ หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในทางกายภาพ และกล่าวถึงชีวิตโดยรวม ซึ่งเป็นขอบเขตของการศึกษาตั้งแต่ระดับภายในอะตอมไปจนถึงระดับจักรวาล
ประเทศไทยเคยอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากมาย โดยเฉพาะป่าไม้ และสัตว์ป่า แต่ทรัพยากรอันทรงคุณค่าเหล่านี้ ได้ถูกทำลายลงไปเป็นอันมากทั้งอย่างถูกต้อง และไม่ถูกต้องตามกฏหมาย จนกระทั่งปัจจุบันนี้ เรายังเหลือสิ่งเหล่านี้อีกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และผืนป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ หน่วยพิทักษ์ป่าละเลิงร้อยรู จังหวัดบุรีรัมย์ ก็เป็นที่หนึ่งซึ่งมีความสำคัญและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ได้ประสบกับปัญหาการลักลอบทำลายธรรมชาติ และการบุกรุกพื้นที่จากชาวบ้านรอบพื้นที่
ชมรมนักนิยมธรรมชาติจึงได้เห็น ถึงความสำคัญของการที่จะช่วยกันรักษาป่าผืนนี้ ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ และได้ตระหนักว่ากำลังสำคัญที่จะช่วยในการอนุรักษ์ธรรมชาติของประเทศต่อไป คือเยาวชน จึงได้ดำเนินการที่จะปลูกฝังความรักธรรมชาติ และสร้างพื้นฐานการอนุรักษ์ธรรมชาติให้แก่เยาวชน เพื่อให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้ เป็นกำลังสำคัญ ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้องต่อไป
ธรรมชาติเป็นสิ่ที่อยู่ใกล้ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นต้นไม้ ป่าเขา สัตว์ป่่า ดอกไม้ ต้นหญ้าก็ล้วนเป็นธรรมชาติทั้งสิ้น ธรรมชาติที่สวยงามบางเเห่งก็ถูกจัดให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ให้ความพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งในประเทศไทยเเละทั่วดลกก็มี่สถานที่ที่สวยงามหลายเเห่งในประเทศไทยสถานที่ท่องเที่ยว เช่น เกาะสมุย เขื่อนเชี่ยวหลาน น้ำตกสอยดาว ภูกระดึง ดอยอินทนนท์ ดอยสุเทพ เป็นต้น
มีบางคนคิดว่าอนาคตนี้มนุษย์จะไม่ต้องการธรรมชาติ และฉลาดพอที่จะสร้างสิ่งต่างๆ ทดแทนธรรมชาติได้ แต่อันที่จริงแล้ว มนุษย์เองก็เกิดจากธรรมชาติและธรรมชาติก็สร้างมนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดเดียวที่มีสมองอันชาญฉลาด มีความสามารถที่จะปกป้องธรรมชาติจากอันตราย และช่วยเหลือสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นได้ หากธรรมชาติเสื่อมโทรมลงไป มนุษย์อาจจะต้องอยู่อย่างลำบากมากขึ้น นี่จึงเป็นเหตุผลที่เราควรจะดูแลรักษาธรรมชาติ ธรรมชาติสามารถแสดงให้มนุษย์เห็นว่าจะทำสิ่งต่างๆ ได้อย่างไร และมนุษย์ศึกษาธรรมชาติ เพื่อที่จะเข้าใจและแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
ธรรมชาติวิทยา หรือประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หมายถึงคำรวมที่ใช้เรียกสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปัจจุบันมองว่าเป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเฉพาะชัดเจน นิยามเกือบทั้งหมดรวมถึงการศึกษาสิ่งมีชีวิต (เช่น ชีววิทยา รวมทั้งพฤกษศาสตร์และสัตววิทยา) นิยามอื่นได้ขยายเนื้อหารวมไปถึง บรรพชีวินวิทยา นิเวศวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีวเคมี รวมทั้งธรณีวิทยาและฟิสิกส์ หรือแม้แต่อุตุนิยมวิทยา บุคคลผู้สนใจในธรรมชาติวิทยาเรียกว่า "นักธรรมชาติวิทยา"
ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 ย่างต่อเนื่องสู่ศตวรรษที่ 19 คำเรียกสาขา "ธรรมชาติวิทยา" หรือ "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ" ส่วนใหญ่ใช้หมายถึงบริบทที่เป็นการพรรณนาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติ ซึ่งตรงข้ามกับประวัติศาสตร์ด้านรัฐศาสตร์หรือด้านศาสนา ซึ่งเป็นน้ำหนักถ่วงดุลการศึกษาเชิงวิเคราะห์ด้านธรรมชาติ นั่นคือ "ปรัชญาธรรมชาติ" ซึ่งเนื้อหาวิชาจะรวมแนวคิดด้านฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ การใช้ในลักษณะกว้างๆ เช่นนี้ ก็ยังคงใช้กันอยู่ในบางสถาบัน เช่น พิพิธภัณฑ์ต่างๆ และสมาคม โดยเริ่มต้นในยุโรป วิชาชีพเฉพาะต่างๆ เช่น สรีรวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ธรณีวิทยา และต่อมาเกิดยังได้เกิดเป็นวิทยาเซลล์(cytology) และคัพภวิทยา (embryology) ขึ้น
ธรรมชาติวิทยาเดิมเป็นวิชาหลักที่เปิดสอนเฉพาะในมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่นานๆ เข้าจึงได้กระจายออกมาสู่กิจกรรมของนักสะสมสมัครเล่นมากกว่าการเป็นวิทยาศาสตร์แท้ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและอเมริกาที่งานในด้านนี้ขยายตัวอย่างรวดเร็วกลายเป็นงานอดิเรกเฉพาะชนิดมากขึ้น เช่นการศึกษาเรื่องนก ผีเสื้อและดอกไม้ป่า ในขณะเดียวกันนักวิทยาศาสตร์ก็ได้พยายามบ่งชี้สาขาวิชาชีววิทยาให้เด่นชัดและรวมกันให้เป็นตัวตนที่ชัดเจนขึ้น (แม้จะมีเพียงบางส่วนที่เป็นผลสำเร็จ แต่อย่างน้อยๆ ก็ได้มาถึงขั้น "การสังเคราะห์วิวัฒนาการสมัยใหม่" (modern evolutionary synthesis) แต่ถึงกระนั้น ธรรมเนียมของธรรมชาติวิทยาก็ยังคงเล่นบทบาทของชีววิทยาเมื่อครั้งคริสต์ศตวรรษ 19 และ 20 อยู่ โดยเฉพาะเกี่ยวกับด้านนิเวศวิทยา พฤติกรรมวิทยา (ethology) และ วิวัฒนาการชีววิทยา
ประเทศไทยเคยอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากมาย โดยเฉพาะป่าไม้ และสัตว์ป่า แต่ทรัพยากรอันทรงคุณค่าเหล่านี้ ได้ถูกทำลายลงไปเป็นอันมากทั้งอย่างถูกต้อง และไม่ถูกต้องตามกฏหมาย จนกระทั่งปัจจุบันนี้ เรายังเหลือสิ่งเหล่านี้อีกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และผืนป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ หน่วยพิทักษ์ป่าละเลิงร้อยรู จังหวัดบุรีรัมย์ ก็เป็นที่หนึ่งซึ่งมีความสำคัญและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ได้ประสบกับปัญหาการลักลอบทำลายธรรมชาติ และการบุกรุกพื้นที่จากชาวบ้านรอบพื้นที่
ชมรมนักนิยมธรรมชาติจึงได้เห็น ถึงความสำคัญของการที่จะช่วยกันรักษาป่าผืนนี้ ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ และได้ตระหนักว่ากำลังสำคัญที่จะช่วยในการอนุรักษ์ธรรมชาติของประเทศต่อไป คือเยาวชน จึงได้ดำเนินการที่จะปลูกฝังความรักธรรมชาติ และสร้างพื้นฐานการอนุรักษ์ธรรมชาติให้แก่เยาวชน เพื่อให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้ เป็นกำลังสำคัญ ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้องต่อไป
![]() |

ซึ่งในปัจจุบันธรรมชาติก็ถูกทำลายไปมากก้ฝีมือจากมนุษย์ทุกนที่ไม่ช่วยกันรักษาสิ่งเเวดล้อม
ให้สวยงาม กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ไม่น่าไปเที่ยวอีกต่อไป
ดังนั้นเราจะต้องกันรักษาสิ่งเเวดล้อมให้น่าอยู่ต่อไป เช่น การไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะ เเละสถานที่ท่องเที่ยว ฏ็เป้นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ธรรมชาติสวยงามอีกครั้ง
ในหลายๆ ด้านแล้ว กล่าวได้ว่าธรรมชาติและมนุษย์มีหลายอย่างที่ขัดแย้งกัน บางคนมองธรรมชาติว่าเป็นเพียงทรัพยากรธรรมชาติที่เอามาเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์เท่านั้น มนุษย์ตัดต้นไม้เพื่อนำไม้ไปเป็นเชื้อเพลิงหรือนำไปสร้างบ้าน หรือเพื่อนำที่ดินไปทำสวน ปลูกผัก หรือสร้างรถ และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปล่อยควันเสีย โดยเฉพาะในเมือง หรือการที่มนุษย์จับปลาอย่างมากมายโดยฆ่าทั้งปลาและทำอันตรายต่อสัตว์อื่นๆ ใต้น้ำ
ในขณะที่บางคนเลือกที่จะไม่ทำร้ายธรรมชาติ เพราะพวกเขารู้สึกว่าธรรมชาติมีความจำเป็นต่อพวกเขา พวกเขาจึงพยายามทำสิ่งที่ไม่มีผลกระทบต่อธรรมชาติ โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ที่มีผู้คนมากมาย ปัญหาธรรมชาติจึงเป็นปัญหาที่ร้ายแรง และกลายเป็นเรื่องการเมืองไปเสียแล้ว มีบางคนคิดว่าอนาคตนี้มนุษย์จะไม่ต้องการธรรมชาติ และฉลาดพอที่จะสร้างสิ่งต่างๆ ทดแทนธรรมชาติได้ แต่อันที่จริงแล้ว มนุษย์เองก็เกิดจากธรรมชาติและธรรมชาติก็สร้างมนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดเดียวที่มีสมองอันชาญฉลาด มีความสามารถที่จะปกป้องธรรมชาติจากอันตราย และช่วยเหลือสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นได้ หากธรรมชาติเสื่อมโทรมลงไป มนุษย์อาจจะต้องอยู่อย่างลำบากมากขึ้น นี่จึงเป็นเหตุผลที่เราควรจะดูแลรักษาธรรมชาติ ธรรมชาติสามารถแสดงให้มนุษย์เห็นว่าจะทำสิ่งต่างๆ ได้อย่างไร และมนุษย์ศึกษาธรรมชาติ เพื่อที่จะเข้าใจและแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
ประวัติศาสตร์ของธรรมชาติวิทยา
ต้นตอของธรรมชาติวิทยาย้อนยาวไปถึงสมัยของ อริสโตเติลและนักปราชญ์โบราณคนอื่นๆ ที่ได้วิเคราะห์ค้นหาความหลากหลายของธรรมชาติในโลก นับตั้งแต่กรีกโบราณมาจนถึงยุคของคาโรลัส ลินเนียส และนักธรรมชาติวิทยาสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 อีกหลายคน แนวคิดหลักที่ผูกกันไว้ก็คือ scala naturae หรือ"ห่วงโซ่อันยิ่งใหญ่แห่งการมีชีวิตอยู่" ที่จัดรวมเอาแร่ธาตุ พืช สัตว์และสิ่งมีชีวิตชั้นสูงมาเรียงเป็นเส้นยาวแห่งการเพิ่ม "ความสมบูรณ์" ธรรมชาติวิทยามาหยุดนิ่งอยู่นานในยุคกลาง โดยเฉพาะเมื่อมีความพยายามเอางานของ อริสโตเติลมาผสมกับปรัชญาคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะ โทมัส อควินัสซึ่งได้กลายมาเป็นรูปพื้นฐานของวิชาเทววิทยาธรรมชาติ(natural theology) ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา นักวิชาการ (โดยเฉพาะแพทย์สมุนไพร) ได้หันกลับไปสู่ธรรมชาติวิทยาด้วยการสังเกตการณ์กับต้นพืชและสัตว์โดยตรงอีกครั้งหนึ่ง และหลายคนเริ่มต้นการสะสมต้นไม้แปลกๆ และสัตว์ประหลาดมากขึ้น การเพิ่มจำนวนของชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่มากขึ้นจนเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็วเป็นเหตุให้เกิดความพยายามในการจัดหมวดหมู่อนุกรมวิธานที่ถึงจุดสูงสุดของระบบเป็นที่รู้จักกันดีว่า ระบบลินเนียสในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 ย่างต่อเนื่องสู่ศตวรรษที่ 19 คำเรียกสาขา "ธรรมชาติวิทยา" หรือ "ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ" ส่วนใหญ่ใช้หมายถึงบริบทที่เป็นการพรรณนาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติ ซึ่งตรงข้ามกับประวัติศาสตร์ด้านรัฐศาสตร์หรือด้านศาสนา ซึ่งเป็นน้ำหนักถ่วงดุลการศึกษาเชิงวิเคราะห์ด้านธรรมชาติ นั่นคือ "ปรัชญาธรรมชาติ" ซึ่งเนื้อหาวิชาจะรวมแนวคิดด้านฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ โบราณคดี ฯลฯ การใช้ในลักษณะกว้างๆ เช่นนี้ ก็ยังคงใช้กันอยู่ในบางสถาบัน เช่น พิพิธภัณฑ์ต่างๆ และสมาคม โดยเริ่มต้นในยุโรป วิชาชีพเฉพาะต่างๆ เช่น สรีรวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ธรณีวิทยา และต่อมาเกิดยังได้เกิดเป็นวิทยาเซลล์(cytology) และคัพภวิทยา (embryology) ขึ้น
ธรรมชาติวิทยาเดิมเป็นวิชาหลักที่เปิดสอนเฉพาะในมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่นานๆ เข้าจึงได้กระจายออกมาสู่กิจกรรมของนักสะสมสมัครเล่นมากกว่าการเป็นวิทยาศาสตร์แท้ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและอเมริกาที่งานในด้านนี้ขยายตัวอย่างรวดเร็วกลายเป็นงานอดิเรกเฉพาะชนิดมากขึ้น เช่นการศึกษาเรื่องนก ผีเสื้อและดอกไม้ป่า ในขณะเดียวกันนักวิทยาศาสตร์ก็ได้พยายามบ่งชี้สาขาวิชาชีววิทยาให้เด่นชัดและรวมกันให้เป็นตัวตนที่ชัดเจนขึ้น (แม้จะมีเพียงบางส่วนที่เป็นผลสำเร็จ แต่อย่างน้อยๆ ก็ได้มาถึงขั้น "การสังเคราะห์วิวัฒนาการสมัยใหม่" (modern evolutionary synthesis) แต่ถึงกระนั้น ธรรมเนียมของธรรมชาติวิทยาก็ยังคงเล่นบทบาทของชีววิทยาเมื่อครั้งคริสต์ศตวรรษ 19 และ 20 อยู่ โดยเฉพาะเกี่ยวกับด้านนิเวศวิทยา พฤติกรรมวิทยา (ethology) และ วิวัฒนาการชีววิทยา
นักสะสมสมัครเล่นหลายคนและนักประกอบการทางธรรมชาติวิทยาหลายคนมีบทบาทสำคัญในการสร้างสถาบันสะสมธรรมชาติวิทยาขนาดใหญ่ โดยเฉพาะพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา สถาบันสมิทโซเนียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)